logo

นักศึกษาใหม่

บุคลากร/นักศึกษา

อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

นานาชาติ

อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม

Criminology and Justice Administration

Courses

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม (สำหรับผู้จบปริญญาโท)

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม (สำหรับผู้จบปริญญาตรี)

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม (สำหรับผู้จบปริญญาโท)

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม (สำหรับผู้จบปริญญาโท)

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม (สำหรับผู้จบปริญญาโท)

       หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ลึกซึ้งในด้านการวิเคราะห์และการบูรณาการงานยุติธรรม โดยมีรายวิชาหลักที่ออกแบบมาเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจอย่างรอบด้าน ได้แก่ การวิเคราะห์และการบูรณาการงานยุติธรรม วิธีวิทยาการวิจัยทางอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม และนิติวิทยาศาสตร์ในงานยุติธรรม เพื่อสร้างผู้นำที่สามารถจัดการและพัฒนาระบบยุติธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการศึกษาในระดับสูงนี้จะเพิ่มทักษะและความรู้ที่จำเป็นสำหรับการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง พร้อมทั้งการวิจัยและพัฒนาเพื่อการปรับปรุงระบบยุติธรรมในอนาคต เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการความก้าวหน้าในสายอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการจัดการงานยุติธรรมและอาชญาวิทยาทั้งในภาครัฐและเอกชน
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. รูปแบบการเรียน 1.1
1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในสาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องที่ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง มีผลการเรียนขั้นปริญญาโท และสำเร็จการศึกษาด้วยการทำวิทยานิพนธ์ มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารที่ทำให้เชื่อได้ว่ามีศักยภาพสูงในการทำงานวิจัย หรือคณะกรรมการประจำหลักสูตรพิจารณาเห็นสมควรรับเข้าศึกษา และมีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2. ไม่เคยเป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงหรือประพฤติผิดศีลธรรม
3. มีประสบการณ์การทำงานในกระบวนการยุติธรรมหรือที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป
4. ต้องมีบทความวิจัยที่เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ (ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของงานวิทยานิพนธ์) อย่างน้อย 1 เรื่อง
5. ต้องมีการนำเสนอโครงร่างงานดุษฎีนิพนธ์

2. รูปแบบการเรียน 2.1
1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในสาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง และมีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2. ไม่เคยเป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงหรือประพฤติผิดศีลธรรม

3. รูปแบบการเรียน 2.2
1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีผลการเรียนดีมาก และมีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2. ไม่เคยเป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงหรือประพฤติผิดศีลธรรม
หมายเหตุ: ผู้ที่มีเงื่อนไขไม่เป็นไปตามที่กำหนด ให้คณะกรรมการของหลักสูตรเป็นผู้พิจารณา

ระบบการจัดการศึกษา
1. ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
2. แบบ 1.1 และ แบบ 2.1 สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 ปี แต่ไม่เกิน 6 ปี
แบบ 2.2 สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 4 ปี แต่ไม่เกิน 8 ปี
3. ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน
วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน
วันเสาร์ - วันอาทิตย์ เวลา 09.00 – 16.00 น.
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต
อาคารรัตนคุณากร (ตึก 11) ชั้น 2 ห้อง 206
โทร. 029972200 ต่อ 4001 – 4005
Email: grad@rsu.ac.th
Facebook: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต

Enrollment Fee

1

Course Duration

3 ปี

Tuition Fee

450,000



Scholarships

    Careers

    • นักอาชญาวิทยา เจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม นักวิชาการด้านอาชญาวิทยาและการบริหารงาน ยุติธรรม และสามารถประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ (เช่น หน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม)
    • บุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ อาจารย์ในสายงานด้านอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม ใน มหาวิทยาลัยและสถาบันต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น สาขาอาชญาวิทยาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม สาขาวิชาสังคมวิทยา (อาชญาวิทยา) หลักสูตรปริญญาโทสาขาการบริหารงานยุติธรรม สาขารัฐศาสตร์ หมวด บริหารงานยุติธรรม คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชาเอกบริหารงานยุติธรรม และหลักสูตรศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นต้น
    • นักวิชาการอิสระด้านอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม

    Compare courses

    หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม (สำหรับผู้จบปริญญาตรี)

    หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม (สำหรับผู้จบปริญญาตรี)

    หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม (สำหรับผู้จบปริญญาตรี)

           หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ลึกซึ้งในด้านการวิเคราะห์และการบูรณาการงานยุติธรรม โดยมีรายวิชาหลักที่ออกแบบมาเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจอย่างรอบด้าน ได้แก่ การวิเคราะห์และการบูรณาการงานยุติธรรม วิธีวิทยาการวิจัยทางอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม และนิติวิทยาศาสตร์ในงานยุติธรรม เพื่อสร้างผู้นำที่สามารถจัดการและพัฒนาระบบยุติธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการศึกษาในระดับสูงนี้จะเพิ่มทักษะและความรู้ที่จำเป็นสำหรับการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง พร้อมทั้งการวิจัยและพัฒนาเพื่อการปรับปรุงระบบยุติธรรมในอนาคต เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการความก้าวหน้าในสายอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการจัดการงานยุติธรรมและอาชญาวิทยา ทั้งในภาครัฐและเอกชน
    คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
    1. รูปแบบการเรียน 1.1
    1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในสาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง มีผลการเรียนขั้นปริญญาโท และสำเร็จการศึกษาด้วยการทำวิทยานิพนธ์ มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารที่ทำให้เชื่อได้ว่ามีศักยภาพสูงในการทำงานวิจัย หรือคณะกรรมการประจำหลักสูตรพิจารณาเห็นสมควรรับเข้าศึกษา และมีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด
    2. ไม่เคยเป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงหรือประพฤติผิดศีลธรรม
    3. มีประสบการณ์การทำงานในกระบวนการยุติธรรมหรือที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป
    4. ต้องมีบทความวิจัยที่เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ (ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของงานวิทยานิพนธ์) อย่างน้อย 1 เรื่อง
    5. ต้องมีการนำเสนอโครงร่างงานดุษฎีนิพนธ์

    2. รูปแบบการเรียน 2.1
    1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในสาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง และมีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด
    2. ไม่เคยเป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงหรือประพฤติผิดศีลธรรม

    3. รูปแบบการเรียน 2.2
    1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีผลการเรียนดีมาก และมีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด
    2. ไม่เคยเป็นผู้มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงหรือประพฤติผิดศีลธรรม
    หมายเหตุ: ผู้ที่มีเงื่อนไขไม่เป็นไปตามที่กำหนด ให้คณะกรรมการของหลักสูตรเป็นผู้พิจารณา

    ระบบการจัดการศึกษา
    1. ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
    2. แบบ 1.1 และ แบบ 2.1 สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 ปี แต่ไม่เกิน 6 ปี
    แบบ 2.2 สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 4 ปี แต่ไม่เกิน 8 ปี
    3. ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน
    วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน
    วันเสาร์ - วันอาทิตย์ เวลา 09.00 – 16.00 น.
    สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต
    อาคารรัตนคุณากร (ตึก 11) ชั้น 2 ห้อง 206
    โทร. 029972200 ต่อ 4001 – 4005
    Email: grad@rsu.ac.th
    Facebook: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต

    Enrollment Fee

    1

    Course Duration

    4 ปี

    Tuition Fee

    600,000



    Scholarships

      Careers

      • นักอาชญาวิทยา เจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม นักวิชาการด้านอาชญาวิทยาและการบริหารงาน ยุติธรรม และสามารถประกอบอาชีพในหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ (เช่น หน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม)
      • บุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ อาจารย์ในสายงานด้านอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม ใน มหาวิทยาลัยและสถาบันต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น สาขาอาชญาวิทยาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม สาขาวิชาสังคมวิทยา (อาชญาวิทยา) หลักสูตรปริญญาโทสาขาการบริหารงานยุติธรรม สาขารัฐศาสตร์ หมวด บริหารงานยุติธรรม คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชาเอกบริหารงานยุติธรรม และหลักสูตรศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นต้น
      • นักวิชาการอิสระด้านอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม

      Compare courses

      Loading...

      Privacy Policy

      © 2024 RANGSIT UNIVERSITY